เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน] 4.อุปาทินนติกะ 7.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (5)
สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์
ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
แต่เป็นอารมณ์ของอุปทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น
อารมณ์ของอุปทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์
ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 45 หน้า :228 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน] 4.อุปาทินนติกะ 7.ปัญหาวาร
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (3) (ย่อ)

[27] เหตุปัจจัย มี 19 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 11 วาระ ฯลฯ
สหชาตปัจจัย มี 19 วาระ ฯลฯ
อาเสวนปัจจัย มี 6 วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย มี 13 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 19 วาระ

(พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร
ให้พิสดาร)

4. อุปาทินนติกะ 7. ปัญหาวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย
[28] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ฯลฯ
[29] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด
ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 45 หน้า :229 }