เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 14. มิจฉัตตนิยตติกะ
1. กุสลติกะ 14. มิจฉัตตนิยตติกะ
1 - 7. ปฏิจจวารเป็นต้น
ปัจจยจตุกกนัย
[63] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งมีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งมีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 1 วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
[64] สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งมีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาว-
ธรรมที่เป็นกุศลซึ่งมีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 1 วาระ

(ย่อ สหชาตวาร ฯลฯ ปัญหาวาร ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ)
[65] สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นอาศัยสภาว-
ธรรมที่เป็นกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น
อาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศล ซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นอกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี 3 วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :769 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 14. มิจฉัตตนิยตติกะ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย (1) (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 9 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 9 วาระ

(ย่อ สหชาตวาร ฯลฯ สัมปยุตตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
[66] สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอกุศลซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยเหตุปัจจัย (1) (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 7 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 10 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 13 วาระ

(ย่อ พึงขยายให้พิสดารเหมือนปัญหาวารในกุสลติกะ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :770 }