เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกทุกปัฏฐาน] 5. สังกิลิฏฐติกะ 1. เหตุทุกะ
[68] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็น
เหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่ง
เป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุ
โดยอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุ
โดยอธิปติปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็น
เหตุโดยอธิปติปัจจัย มี 2 วาระ
[69] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็น
เหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่ง
เป็นเหตุโดยอนันตรปัจจัย มี 6 วาระ ฯลฯ
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุ
โดยอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุ
โดยอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็น
เหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย (3)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :501 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกทุกปัฏฐาน] 5. สังกิลิฏฐติกะ 1. เหตุทุกะ
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 3 วาระ
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเป็นเหตุ
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่ง
เป็นเหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 วาระ (ย่อ)

[70] เหตุปัจจัย มี 3 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 5 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 5 วาระ
อนันตรปัจจัย มี 6 วาระ
สมนันตรปัจจัย มี 6 วาระ
สหชาตปัจจัย มี 3 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี 3 วาระ
นิสสยปัจจัย มี 3 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี 8 วาระ
อาเสวนปัจจัย มี 3 วาระ
วิปากปัจจัย มี 2 วาระ
อินทรียปัจจัย มี 2 วาระ
มัคคปัจจัย มี 2 วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 3 วาระ (ย่อ)
นเหตุปัจจัย มี 8 วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี 8 วาระ (ย่อ)


นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 3 วาระ (ย่อ)
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 5 วาระ (ย่อ)

(พึงขยายให้พิสดารเหมือนปัญหาวารในกุสลติกะ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :502 }