เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 97. นิยยานิกทุกะ 7. ปัญหาวาร

นสหชาตปัจจัย มี 5 วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี 5 วาระ
นนิสสยปัจจัย มี 5 วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี 7 วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี 6 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี 7 วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี 4 วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี 4 วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี 7 วาระ
โนวิคตปัจจัย มี 7 วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี 4 วาระ

3. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[327] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 4 วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี 4 วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี 4 วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี 4 วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี 2 วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี 4 วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี 2 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี 2 วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี 4 วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี 4 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :621 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 98. นิยตทุกะ 7. ปัญหาวาร
4. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[328] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี 5 วาระ

(พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี 7 วาระ

นิยยานิกทุกะ จบ

98. นิยตทุกะ 1 - 6. ปฏิจจวารเป็นต้น
[329] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 อาศัยขันธ์ 1 ที่ให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ 2 ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นอาศัยสภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (ย่อ
พึงทําเป็น 5 วาระ ปฏิจจวาร สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร
และสัมยุตตวาร พึงทําเหมือนนิยยานิกทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน การระบุข้อความ
แตกต่างกัน)

98. นิยตทุกะ 7. ปัญหาวาร
1. ปัจจยานุโลม 1. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[330] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
โดยเหตุปัจจัย มี 4 วาระ (เหมือนกับนิยยานิกทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :622 }