เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 83. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ 7. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (2)

อนันตรปัจจัย
[18] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย (2)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี 5 วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี 5 วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี 2 วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี 7 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :416 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 83. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ 7. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[19] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 3 อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ราคะที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง คือ
อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
แล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรค ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทํา
สมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
...โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ ผลสมาบัติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย (2)
[20] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 3 อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย
ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :417 }