เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 71. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ 7. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[84] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะโดย
วิปปยุตตปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาต ได้แก่ ฯลฯ (1)

อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[85] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี 1 วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (1)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (2)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :333 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 71. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (3)
[86] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ) (2)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ (ใน 2 ปัจจัยนี้ สหชาตัตถิเหมือนสหชาตะ ปุเรชาตัตถิเหมือน
ปุเรชาตะ) (3)
[87] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 3 โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 3 โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :334 }