เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 68. อุปาทินนทุกะ 5. สังสัฏฐวาร
3. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[441] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 4 วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี 5 วาระ ฯลฯ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี 4 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี 5 วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี 5 วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี 3 วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี 3 วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี 4 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี 2 วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี 4 วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี 4 วาระ

4. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[442] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 4 วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี 4 วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี 3 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี 5 วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

68. อุปาทินนทุกะ 5. สังสัฏฐวาร
1. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[443] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดระคน
กับสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :262 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 68. อุปาทินนทุกะ 5. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3
เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เกิด
ระคนกับขันธ์ 2 ฯลฯ (1)

เหตุปัจจัย มี 2 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 2 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 1 วาระ
อนันตรปัจจัย มี 2 วาระ
สมนันตรปัจจัย มี 2 วาระ
สหชาตปัจจัย มี 2 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี 2 วาระ
นิสสยปัจจัย มี 2 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี 2 วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี 2 วาระ
อาเสวนปัจจัย มี 1 วาระ
กัมมปัจจัย มี 2 วาระ
วิปากปัจจัย มี 2 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 2 วาระ

อนุโลม จบ
[444] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดระคน
กับสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ เกิดระคนกับ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :263 }