เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 66. อัชฌัตติกทุกะ 7. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น
ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเป็น
ภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (3)
[359] สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ... ที่เกิดภายหลัง (ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (2)
สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายใน
และที่เป็นภายนอกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก ฯลฯ
(ย่อ) (3)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :207 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 66. อัชฌัตติกทุกะ 7. ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[360] สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดย
อัตถิปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นภายในโด
ยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
ปัจฉาชาตะ (พึงเพิ่มให้เหมือนกับปัจฉาชาตปัจจัย) (1)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอกโดยอัตถิปัจจัย
มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดพร้อมกันซึ่งเป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย (ย่อ) (2)
(อัตถิปัจจัยในที่นี้ สหชาตะในที่ทุกแห่งพึงทําให้เหมือนกับปัจจยวาร ทํา
ปุเรชาตะให้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ทําปัจฉาชาตะให้เหมือนกับปัจฉาชาตปัจจัย
ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
สภาวธรรมที่เป็นภายในเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็นภายนอก
โดยอัตถิปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (3)
[361] สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายนอก
โดยอัตถิปัจจัย มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (พึงขยายให้พิสดารทั้งหมด) (1)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในโดยอัตถิปัจจัย
มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (2)
สภาวธรรมที่เป็นภายนอกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นภายในและที่เป็น
ภายนอกโดยอัตถิปัจจัย มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ) (3)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :208 }