เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 60. จิตตสมุฏฐานทุกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (2)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ
สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (3)

อัตถิปัจจัย
[230] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็น
สมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
โดยอัตถิปัจจัย มี 4 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ
(ย่อ) (2)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (3)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
โดยอัตถิปัจจัย มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระและ
อินทรียะ (ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
โดยอัตถิปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (2)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี 4 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (ย่อ) (3)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :130 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 60. จิตตสมุฏฐานทุกะ 7. ปัญหาวาร
[231] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ (ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (สําหรับปัญหาวาระทั้งหมด
พึงเพิ่มทั้งปฏิสนธิกาลและปวัตติกาลให้เหมือนกับปัจจยวาร)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและจิตเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนซึ่งไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน จิต และกวฬิงการาหารเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน จิต และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอัตถิปัจจัย มี 3 อย่าง คือ
สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ (ย่อ) (3)
(ปัจจยวารเหมือนกับสหชาตวาร พึงเพิ่มบทว่า สหชาตปัจจัยเข้าไว้ทั้งหมด)
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :131 }