เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 2.สเหตุกทุกะ 7.ปัญหาวาร
2. ปัจจนียุทธาร
[120] สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย สห-
ชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (3)
[121] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย สห-
ชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (3)
[122] สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (3)

2. ปัจจยปัจจนียะ 2. สังขยาวาร

[123] นเหตุปัจจัย มี 9 วาระ ฯลฯ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 9 วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี 9 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :68 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 2.สเหตุกทุกะ 7.ปัญหาวาร
3. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[124] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 6 วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี 6 วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี 6 วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี 6 วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี 2 วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี 6 วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี 6 วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี 2 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี 2 วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี 6 วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี 6 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

4. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[125] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี 4 วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี 9 วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี 9 วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี 9 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี 6 วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี 9 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี 9 วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี 3 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :69 }