เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 52.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ 7.ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึง
เกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสโดย
ปุเรชาตปัจจัย (2)

ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[74] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสโดยอาเสวนปัจจัย มี 2 วาระ

กัมมปัจจัยเป็นต้น
[75] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยกัมมปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยกัมมปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :473 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 52.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ 7.ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (1)
... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี 1 วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี 4
วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี 4 วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี 4 วาระ
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี 4 วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี 2 วาระ

วิปปยุตตปัจจัย
[76] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสโดยวิปปยุตตปัจจัย (1)
อัตถิปัจจัย
[77] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 3 โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) (2)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
และที่วิปปยุตจากปรามาสโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ (3)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :474 }