เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 50.ปรามาสทุกะ 7.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (3)
[40] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (3)
[41] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (3)

2. ปัจจยปัจจนียะ 2. สังขยาวาร

[42] นเหตุปัจจัย มี 9 วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 9 วาระ)
โนอวิคตปัจจัย มี 9 วาระ

3. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[43] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี 3 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :457 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 51. ปรามัฏฐทุกะ 1-7. ปัญหาวาร

นอนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี 3 วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี 1 วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี 3 วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี 3 วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี 1 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี 3 วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี 3 วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี 3 วาระ

4. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[44] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี 9 วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี 5 วาระ
ปรามาสทุกะ จบ

51. ปรามัฏฐทุกะ 1-7. ปัญหาวาร
1. ปัจจยานุโลม 1. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[45] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์
ของปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
1 ที่เป็นอารมณ์ของปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน)
... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาส ฯลฯ (พึงเพิ่มปรามัฏฐทุกะ
เหมือนโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
ปรามัฏฐทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :458 }