เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 20.สัญโญชนทุกะ 3.ปัจจยวาร
4. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[8] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 4 วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ 4 วาระ)

วิปากปัจจัย ” มี 1 วาระ
อาหารปัจจัย ” มี 4 วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี 3 วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี 4 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี 4 วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ

20. สัญโญชนทุกะ 2. สหชาตวาร
[9] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดร่วมกับสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เพราะ
เหตุปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)

20. สัญโญชนทุกะ 3. ปัจจยวาร
1. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[10] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี 3 วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ 1 ที่ไม่เป็นสังโยชน์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :278 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 20.สัญโญชนทุกะ 3.ปัจจยวาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป 1
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์ทำขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สังโยชน์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 สังโยชน์และจิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ 1 ที่ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ 2 ฯลฯ สังโยชน์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (3)
[11] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์ทำ
กามราคสังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชา-
สังโยชน์ทำกามราคสังโยชน์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (1)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ 1
ที่ไม่เป็นสังโยชน์และทำสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ 2 ฯลฯ (พึงผูก
เป็นจักกนัย) ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสังโยชน์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่
ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 ทิฏฐิสังโยชน์
อวิชชาสังโยชน์และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ 1 ที่ไม่เป็นสังโยชน์และทำกามราคสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ 2 ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) ทิฏฐิสังโยชน์
อวิชชาสังโยชน์ และสัมปยุตตขันธ์ทำกามราคสังโยชน์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ ) (3)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :279 }