เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 19.อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ 1.ปฏิจจวาร

นมัคคปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 4 วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี 4 วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี 4 วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี 4 วาระ

4. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[130] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี 9 วาระ

(พึงนับบทที่เป็นอนุโลม) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี 9 วาระ
อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ จบ

19. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ 1. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย
[131] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ 1 ที่วิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป 1 ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน ย่อ)
อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ จบ
อาสวโคจฉกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :273 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 20.สัญโญชนทุกะ 1.ปฏิจจวาร
4. สัญโญชนโคจฉกะ
20. สัญโญชนทุกะ 1. ปฏิจจวาร
1. ปัจจยานุโลม 1. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[1] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น
สีลัพพตปรามาสสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น มาน-
สังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัย
กามราคสังโยชน์เกิดขึ้น อิสสาสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น
มัจฉริยสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัย
ปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น ภวราคสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยมานสังโยชน์เกิดขึ้น
อวิชชาสังโยชน์อาศัยภวราคสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัยวิจิกิจฉาสังโยชน์
เกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์ สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (3)
[2] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ 1 ที่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป 1 ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :274 }