เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 16. มัคคารัมมณติกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและ
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย
อุปนิสสยปัจจัย (5)
[43] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (3)
[44] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณูปนิสสยะ
ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (1)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย
อุปนิสสยปัจจัย (2)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :542 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 16. มัคคารัมมณติกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค
เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น (4)
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูป-
นิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัย
แก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (5)

อาเสวนปัจจัย
[45] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี
โดยอาเสวนปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย พึงเพิ่มเป็น 9 วาระ ไม่พึง
เพิ่มอาวัชชนจิต)

กัมมปัจจัยเป็นต้น
[46] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
อารมณ์โดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (ไม่มีนานาขณิกะ พึง
เพิ่มเป็น 17 วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :543 }