เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 15. มิจฉัตตนิยตติกะ 5. สังสัฏฐวาร

นปุเรชาตปัจจัย มี 2 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี 1 วาระ
นกัมมปัจจัย มี 3 วาระ
นวิปากปัจจัย มี 3 วาระ
นฌานปัจจัย มี 1 วาระ
นมัคคปัจจัย มี 1 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี 2 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

3. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[34] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี 2 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี 3 วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี 1 วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี 3 วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี 3 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี 2 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

4. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[35] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 1 วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี 1 วาระ (ย่อ)
อวิคตปัจจัย ” มี 1 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :501 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 15. มิจฉัตตนิยตติกะ 7. ปัญหาวาร
15. มิจฉัตตนิยตติกะ 7. ปัญหาวาร
1. ปัจจยานุโลม 1. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[36] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนโดยเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (1)

อารัมมณปัจจัย
[37] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มี
สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนซึ่งละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้
ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :502 }