เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 12. ปริตตติกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัปปมาณะโดยอัตถิปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นอัปปมาณะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ (2)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
โดยอัตถิปัจจัย มี 4 อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กาย
นี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยอัตถิปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นมหัคคตะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 1 ที่เป็นมหัคคตะ และ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 และหทัยวัตถุ ฯลฯ
เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย (2)

1. ปัจจยานุโลม 2. สังขยาวาร

[87] เหตุปัจจัย มี 7 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 7 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 7 วาระ
อนันตรปัจจัย มี 9 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :455 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 12. ปริตตติกะ 7. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี 9 วาระ
สหชาตปัจจัย มี 11 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี 7 วาระ
นิสสยปัจจัย มี 13 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี 3 วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ
อาเสวนปัจจัย มี 4 วาระ
กัมมปัจจัย มี 7 วาระ
วิปากปัจจัย มี 7 วาระ
อาหารปัจจัย มี 7 วาระ
อินทรียปัจจัย มี 7 วาระ
ฌานปัจจัย มี 7 วาระ
มัคคปัจจัย มี 7 วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ
อัตถิปัจจัย มี 13 วาระ
นัตถิปัจจัย มี 8 วาระ
วิคตปัจจัย มี 9 วาระ
อวิคตปัจจัย มี 13 วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
2. ปัจจนียุทธาร
[88] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :456 }