เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 11. เสกขติกะ 3. ปัจจยวาร

นอัญญมัญญปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 5 วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี 5 วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี 7 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี 17 วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี 17 วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี 4 วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี 9 วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี 5 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี 3 วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี 5 วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี 5 วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

4. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[32] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 1 วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี 1 วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี 1 วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี 1 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี 1 วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี 1 วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :381 }


11. เสกขติกะ 5. สังสัฏฐวาร
1. ปัจจยานุโลม 1. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[33] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นของเสขบุคคล
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ 2 ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นของอเสขบุคคล ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ 2 ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับ
ขันธ์ 1 ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ 2 ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (1)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[34] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะ
อาเสวนปัจจัย (พึงเพิ่ม 2 วาระ) ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

1. ปัจจยานุโลม 2. สังขยาวาร

[35] เหตุปัจจัย มี 3 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 3 วาระ
อนันตรปัจจัย มี 3 วาระ
สมนันตรปัจจัย มี 3 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :382 }