เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 4. อุปาทินนติกะ 3. ปัจจยวาร
อาหารปัจจัย มี 11 วาระ
อินทรียปัจจัย มี 11 วาระ
ฌานปัจจัย มี 11 วาระ
มัคคปัจจัย มี 11 วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี 7 วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี 11 วาระ
อัตถิปัจจัย มี 11 วาระ
นัตถิปัจจัย มี 7 วาระ
วิคตปัจจัย มี 7 วาระ
อวิคตปัจจัย มี 11 วาระ

เหตุทุกนัย
อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 7 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย " มี 11 วาระ
(พึงนับเหมือนในกุสลติกะ)
อนุโลม จบ

2. ปัจจยปัจจนียะ 1. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[36] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น
อารมณ์ของอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ 1 ที่
เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ
อุปาทาน ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... ทำมหาภูตรูป 1 ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :803 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 4. อุปาทินนติกะ 3. ปัจจยวาร
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์
ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏ-
ฐานรูปทำขันธ์ 1 ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ
เป็นอารมณ์ของอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (3)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์
ของอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ 1 ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด
ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ทำมหาภูตรูป 1 ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ รูป ... โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :804 }