เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 4. อุปาทินนติกะ 1. ปฏิจจวาร
เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 อาศัยขันธ์ 1
ที่เป็นกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานเกิดขึ้น มี 3 วาระ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (1)

นอาหารปัจจัย
[19] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ สำหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม ... อาศัยมหาภูตรูป 1 ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ...
อาศัยมหาภูตรูป 1 ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ

นอินทรียปัจจัย
[20] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ
เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ สำหรับเหล่าอสัญญ-
สัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :791 }