เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 3. วิปากติกะ 7. ปัญหาวาร
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 11 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี 7 วาระ
นิสสยปัจจัย " มี 13 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี 9 วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี 3 วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย " มี 3 วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี 2 วาระ
กัมมปัจจัย " มี 9 วาระ
วิปากปัจจัย " มี 3 วาระ
อาหารปัจจัย " มี 7 วาระ
อินทรียปัจจัย " มี 9 วาระ
ฌานปัจจัย " มี 7 วาระ
มัคคปัจจัย " มี 7 วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี 3 วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี 5 วาระ
อัตถิปัจจัย " มี 13 วาระ
นัตถิปัจจัย " มี 7 วาระ
วิคตปัจจัย " มี 7 วาระ
อวิคตปัจจัย " มี 13 วาระ

ติกนัย
อธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี 7 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี 13 วาระ
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนการนับปัจจนียานุโลมในกุสลติกะ)
ปัจจนียานุโลม จบ
วิปากติกะ จบ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :777 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 4. อุปาทินนติกะ 1. ปฏิจจวาร
4. อุปาทินนติกะ 1. ปฏิจจวาร
1. ปัจจยานุโลม 1. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[1] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 อาศัยขันธ์ 1 ที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ 2 อาศัยขันธ์ 2 เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 3 และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ 1 ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ 2 และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ 2 เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป 3 อาศัยมหาภูตรูป 1 ที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ
มหาภูตรูป 2 อาศัยมหาภูตรูป 2 เกิดขึ้น กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถึอและเป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ 1 ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ 2 เกิดขึ้น (3)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :778 }