เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 7. ปัญหาวาร
ปัจจัย 3 คือ อวิคตะ อินทรียะ และอัตถิ มี 7 วาระ
ปัจจัย 4 คือ อวิคตะ นิสสยะ อินทรียะ และอัตถิ มี 7 วาระ
ปัจจัย 3 คือ อวิคตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี 5 วาระ
ปัจจัย 4 คือ อวิคตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี 5 วาระ
ปัจจัย 5 คือ อวิคตะ อธิปติ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี 4 วาระ
ปัจจัย 5 คือ อวิคตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี 3 วาระ

ปกิณณกฆฏนา (8)
[525] ปัจจัย 4 คือ อวิคตะ ปัจฉาชาตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี 3
วาระ
ปัจจัย 3 คือ อวิคตะ ปุเรชาตะ และอัตถิ มี 3 วาระ
ปัจจัย 5 คือ อวิคตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี 3
วาระ
ปัจจัย 4 คือ อวิคตะ อารัมมณะ ปุเรชาตะ และอัตถิ มี 3 วาระ
ปัจจัย 6 คือ อวิคตะ อารัมมณะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และ
อัตถิ มี 3 วาระ
ปัจจัย 6 คือ อวิคตะ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ และ
อัตถิ มี 1 วาระ
ปัจจัย 8 คือ อวิคตะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ
วิปปยุตตะ และอัตถิ มี 1 วาระ
ปัจจัย 6 คือ อวิคตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอัตถิ
มี 1 วาระ

สหชาตฆฏนา (10)
[526] ปัจจัย 4 คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ และอัตถิ มี 9 วาระ
ปัจจัย 5 คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ และอัตถิ มี 3 วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :340 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 7. ปัญหาวาร
ปัจจัย 6 คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ และ
อัตถิ มี 3 วาระ
ปัจจัย 5 คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี 3
วาระ
ปัจจัย 6 คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และ
อัตถิ มี 1 วาระ (อวิปากะ 5)
ปัจจัย 5 คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ และอัตถิ มี 1 วาระ
ปัจจัย 6 คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ และอัตถิ
มี 1 วาระ
ปัจจัย 7 คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
และอัตถิ มี 1 วาระ
ปัจจัย 6 คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ และอัตถิ
มี 1 วาระ
ปัจจัย 7 คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
และอัตถิ มี 1 วาระ (สวิปากะ 5)
อวิคตมูลกนัย จบ
การนับอนุโลมแห่งปัญหาวาร จบ

2. ปัจจนียุทธาร
[527] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอารัมมณปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :341 }