เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 7. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 โดย
นิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 3 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสย-
ปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 3
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 โดย
นิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 3 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสย-
ปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสย-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 3 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 3 และกฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ 3 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 และ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :269 }