เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 5. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น
อัพยากตกิริยา ขันธ์ 1 เกิดระคนกับขันธ์ 3 ขันธ์ 2 เกิดระคนกับขันธ์ 2
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบาก ขันธ์ 1
เกิดระคนกับขันธ์ 3 ขันธ์ 2 เกิดระคนกับขันธ์ 2 (1)

อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[339] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะ
อารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีอธิปติปัจจัยในปฏิสนธิขณะ) เพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย (บททั้งหมดเหมือนเหตุมูลกนัย)

ปุเรชาตปัจจัย
[340] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นกุศล ขันธ์ 1 เกิดระคนกับขันธ์
3 ขันธ์ 2 เกิดระคนกับขันธ์ 2 ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นอกุศล ขันธ์ 1 เกิดระคนกับขันธ์ 3
ขันธ์ 2 เกิดระคนกับขันธ์ 2 ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
ปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น
อัพยากตกิริยา ขันธ์ 1 เกิดระคนกับขันธ์ 3 ขันธ์ 2 เกิดระคนกับขันธ์ 2 ขันธ์
เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะปุเรชาตปัจจัย (1)

อาเสวนปัจจัย
[341] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :214 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 5. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ

กัมมปัจจัย
[342] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะกัมม-
ปัจจัย ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ

วิปากปัจจัย
[343] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบาก
ฯลฯ

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[344] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะอาหาร-
ปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตต-
ปัจจัย (บทเหล่านี้เหมือนกับเหตุปัจจัย)

วิปปยุตตปัจจัย
[345] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะวิป-
ปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นกุศล ฯลฯ ขันธ์ 2
เกิดระคนกับขันธ์ 2 ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ ขันธ์
เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ
ขันธ์เกิดระคนกับหทัยวัตถุเพราะวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :215 }