เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 3. ปัจจยวาร

อัญญมัญญปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี 2 วาระ
นิสสยปัจจัย " " มี 2 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " " มี 2 วาระ
อาเสวนปัจจัย " " มี 1 วาระ
กัมมปัจจัย " " มี 2 วาระ
อาหารปัจจัย " " มี 2 วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี 2 วาระ
ฌานปัจจัย " " มี 2 วาระ
มัคคปัจจัย " " มี 1 วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " " มี 2 วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี 2 วาระ
นัตถิปัจจัย " " มี 2 วาระ
วิคตปัจจัย " " มี 2 วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี 2 วาระ

จตุกกนัย
สหชาตปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี
1 วาระ

อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี 1 วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี 1 วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี 1 วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี 1 วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี 1 วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี 1 วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี 1 วาระ (ย่อ)

... กับโนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย... (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย)
ปัจจนียานุโลมในปัจจยวาร จบ
ปัจจยวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :205 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 4. นิสสยวาร
1. กุสลติกะ 4. นิสสยวาร
1. ปัจจยานุโลม 1. วิภังควาร
อนุโลมเหตุปัจจัย
[329] สภาวธรรมที่เป็นกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 อิงอาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ 1 อิงอาศัย
ขันธ์ 3 เกิดขึ้น ขันธ์ 2 อิงอาศัยขันธ์ 2 เกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ 1 ที่เป็น
กุศลเกิดขึ้น ขันธ์ 1 และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ 3 เกิดขึ้น ขันธ์ 2 และ
จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ 2 เกิดขึ้น (3)
[330] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 อิงอาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ 2 อิง
อาศัยขันธ์ 2 เกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ 1 ที่เป็น
อกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ 2 เกิดขึ้น (3)
[331] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตอิงอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอิงอาศัยขันธ์ 1 ที่เป็น
อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ 1 และจิตตสมุฏฐานรูป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :206 }