เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 3. ปัจจยวาร
นวิปากปัจจัย
[283] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นวิปากปัจจัย ... ทำขันธ์ 1 ที่เป็นกุศล ... มี 3 วาระ
... ทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ... มี 3 วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากต-
กิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ 2 ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป 3 ทำมหาภูตรูป 1 ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก
... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
มหาภูตรูป 3 ทำมหาภูตรูป 1 ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (เว้นวิปากปัจจัย
ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)

นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[284] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย ฯลฯ
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (นี้เป็นความต่างกันในนฌานปัจจัย)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นอัพยากต-
วิบากและอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (นี้เป็นความต่างกันใน
นมัคคปัจจัย)
(ที่เหลือพึงขยายให้พิสดารเหมือนปัจจนียะในปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :154 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 3. ปัจจยวาร
นสัมปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[285] ... เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิ-
ปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
โนวิคตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนในปฏิจจวาร)

2. ปัจจยปัจจนียะ 2. สังขยาวาร

[286] นเหตุปัจจัย มี 4 วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี 5 วาระ
นอธิปติปัจจัย มี 17 วาระ
นอนันตรปัจจัย มี 5 วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี 5 วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี 5 วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี 5 วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี 7 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี 17 วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี 17 วาระ
นกัมมปัจจัย มี 7 วาระ
นวิปากปัจจัย มี 17 วาระ
นอาหารปัจจัย มี 1 วาระ
นอินทรียปัจจัย มี 1 วาระ
นฌานปัจจัย มี 1 วาระ
นมัคคปัจจัย มี 1 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :155 }