เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 3. ปัจจยวาร

สัมปยุตตปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี 1 วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี 1 วาระ
อัตถิปัจจัย " มี 1 วาระ
นัตถิปัจจัย " มี 1 วาระ
วิคตปัจจัย " มี 1 วาระ
อวิคตปัจจัย " มี 1 วาระ ฯลฯ

ทุกนัยมีอาหารปัจจัยเป็นต้น

[276] เหตุปัจจัย กับอาหารปัจจัย ฯลฯ
เหตุปัจจัย กับอินทรียปัจจัย ...
เหตุปัจจัย กับฌานปัจจัย ...
เหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย ...
เหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย ...
เหตุปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย ...
เหตุปัจจัย กับอัตถิปัจจัย ...
เหตุปัจจัย กับนัตถิปัจจัย ...
เหตุปัจจัย กับวิคตปัจจัย ฯลฯ
เหตุปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มี 17 วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี 7 วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย " มี 7 วาระ

อนุโลมในปัจจยวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :150 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 3. ปัจจยวาร
2. ปัจจยปัจจนียะ 1. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[277] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ 1 ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งเป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ 2 และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ 2 ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ 3 และกฏัตตารูปทำขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ 2 และกฏัตตารูปทำขันธ์ 2 ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป 3 ทำมหาภูตรูป 1
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่
มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป 3 ทำมหาภูต-
รูป 1 ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ
ทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นอัพยากตวิบากและ
อัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 40 หน้า :151 }