เมนู

พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต 10.อาหุเนยยวรรค
ในโสตะอยู่ ฯลฯ ในฆานะอยู่ ... ในชิวหาอยู่ ... ในกายอยู่ ... ในใจอยู่ ฯลฯ
(9-48)
ในรูปอยู่ ฯลฯ ในเสียงอยู่ ... ในกลิ่นอยู่ ... ในรสอยู่ ... ในโผฏฐัพพะอยู่ ...
ในธรรมารมณ์อยู่ ฯลฯ (49-96)
ในจักขุวิญญาณอยู่ ฯลฯ ในโสตวิญญาณอยู่ ... ในฆานวิญญาณอยู่ ...
ในชิวหาวิญญาณอยู่ ... ในกายวิญญาณอยู่ ... ในมโนวิญญาณอยู่ ฯลฯ (97-144)
ในจักขุสัมผัสอยู่ ฯลฯ ในโสตสัมผัสอยู่ ... ในฆานสัมผัสอยู่ ... ในชิวหาสัมผัสอยู่
... ในกายสัมผัสอยู่ ... ในมโนสัมผัสอยู่ ฯลฯ (145-192)
ในเวทนาที่เกิดจากจักขุสัมผัสอยู่ ฯลฯ ในเวทนาที่เกิดจากโสตสัมผัสอยู่ ...
ในเวทนาที่เกิดจากฆานสัมผัสอยู่ ... ในเวทนาที่เกิดจากชิวหาสัมผัสอยู่ ... ในเวทนา
ที่เกิดจากกายสัมผัสอยู่ ... ในเวทนาที่เกิดจากมโนสัมผัสอยู่ ฯลฯ (193-240)
ในรูปสัญญาอยู่ ฯลฯ ในสัททสัญญาอยู่ ... ในคันธสัญญาอยู่ ... ในรสสัญญาอยู่
... ในโผฏฐัพพสัญญาอยู่ ... ในธัมมสัญญาอยู่ ฯลฯ (241-288)
ในรูปสัญเจตนาอยู่ ฯลฯ ในสัททสัญเจตนาอยู่ ... ในคันธสัญเจตนาอยู่ ... ใน
รสสัญเจตนาอยู่ ... ในโผฏฐัพพสัญเจตนาอยู่ ... ในธัมมสัญเจตนาอยู่ ฯลฯ (289-
336)
ในรูปตัณหาอยู่ ฯลฯ ในสัททตัณหาอยู่ ... ในคันธตัณหาอยู่ ... ในรสตัณหาอยู่
... ในโผฏฐัพพตัณหาอยู่ ... ในธัมมตัณหาอยู่ ฯลฯ (337-384)
ในรูปวิตกอยู่ ฯลฯ ในสัททวิตกอยู่ ... ในคันธวิตกอยู่ ... ในรสวิตกอยู่ ... ใน
โผฏฐัพพวิตกอยู่ ... ในธัมมวิตกอยู่ ฯลฯ (385-432)
ในรูปวิจารอยู่ ฯลฯ ในสัททวิจารอยู่ ... ในคันธวิจารอยู่ ... ในรสวิจารอยู่ ...
ในโผฏฐัพพวิจารอยู่ ... ในธัมมวิจารอยู่ ฯลฯ (433-480)
... พิจารณาเห็นความไม่เที่ยง ... ในรูปขันธ์อยู่
... พิจารณาเห็นความเป็นทุกข์ ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 23 หน้า :187 }


พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต 10.อาหุเนยยวรรค
... พิจารณาเห็นความเป็นอนัตตา ...
... พิจารณาเห็นความสิ้นไป ...
... พิจารณาเห็นความเสื่อมไป ...
... พิจารณาเห็นความคลายไป ...
... พิจารณาเห็นความดับไป ...
... พิจารณาเห็นความสละคืน ...
ในเวทนาขันธ์อยู่ ... ในสัญญาขันธ์อยู่ ... ในสังขารขันธ์อยู่ ... ในวิญญาณขันธ์อยู่
ฯลฯ (481-520)
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล 7 จำพวกนี้แล เป็นผู้ควรแก่ของที่เขานำมาถวาย ฯลฯ
เป็นนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก
ในอาหุเนยยวรรคนี้ มีหมวดธรรมดังนี้ คือ
ทวาร 6 อารมณ์ 6 วิญญาณ 6 ผัสสะ 6 เวทนา 6
สัญญา 6 สัญเจตนา 6 ตัณหา 6 วิตก 6 วิจาร 6 และขันธ์ 5
แต่ละประการในธรรมแต่ละหมวดมีพระสูตร 8 สูตร
มีสภาวธรรม 8 ประการ คือ
ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความเป็นอนัตตา
ความสิ้นไป ความเสื่อมไป ความคลายกำหนัด
ความดับ และความสละคืน
จัดเป็นพระสูตรเบื้องต้น 16 สูตร1
โดยประกอบการพิจารณาไปตามลำดับ ประการละ 8 สูตร
เมื่อรวมกันทั้งหมด ได้พระสูตร 528 สูตร
อาหุเนยยวรรคที่ 10 จบ

เชิงอรรถ :
1 พระสูตรเบื้องต้น 16 สูตร คือ ในธรรมประการที่ 1 คือจักษุแห่งหมวดทวาร 6 จัดพระสูตรได้ 8 สูตร
และในธรรมประการที่ 1 คือรูปแห่งหมวดอารมณ์ 6 จัดพระสูตรได้ 8 สูตรซึ่งเป็นหัวข้อธรรมตัวอย่าง
ให้หัวข้อธรรมอื่น ๆ ดำเนินไปในลักษณะเดียวกัน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 23 หน้า :188 }