เมนู

พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สันตตกนิบาต 10.อาหุเนยยวรรค
เขาจึงเป็นอันตราปรินิพพายี ภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นบุคคลจำพวกที่ 3
ผู้ควรแก่ของที่เขานำมาถวาย ควรแก่ของต้อนรับ ควรแก่ทักษิณา
ควรแก่การทำอัญชลี เป็นนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก ฯลฯ
4. บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ เป็นอุปหัจจปรินิพพายี ฯลฯ
5. บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ เป็นอสังขารปรินิพพายี ฯลฯ
6. บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ เป็นสสังขารปรินิพพายี ฯลฯ
7. บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้พิจารณาเห็นความไม่เที่ยง มีสัญญาว่า
ไม่เที่ยง รู้ว่าเป็นสภาวะไม่เที่ยงในจักษุอยู่ ตั้งใจมั่นเนืองๆ สม่ำเสมอ
ไม่ขาดระยะ มีปัญญาหยั่งรู้ เพราะสังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ประการสิ้นไป
เขาจึงเป็นอุทธังโสตอกนิฏฐคามี ภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นบุคคลจำพวก
ที่ 7 ผู้ควรแก่ของที่เขานำมาถวาย ควรแก่ของต้อนรับ ควรแก่
ทักษิณา ควรแก่การทำอัญชลี เป็นนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล 7 จำพวกนี้แล เป็นผู้ควรแก่ของที่เขานำมาถวาย
ควรแก่ของต้อนรับ ควรแก่ทักษิณา ควรแก่การทำอัญชลี เป็นนาบุญอันยอดเยี่ยม
ของโลก (1)
[96-622] ภิกษุทั้งหลาย บุคคล 7 จำพวกนี้ เป็นผู้ควรแก่ของที่เขานำ
มาถวาย ฯลฯ เป็นนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก
บุคคล 7 จำพวกไหนบ้าง คือ
บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความเป็นทุกข์ ฯลฯ ในจักษุอยู่
... พิจารณาเห็นความเป็นอนัตตา ฯลฯ ในจักษุอยู่
... พิจารณาเห็นความสิ้นไป ฯลฯ ในจักษุอยู่
... พิจารณาเห็นความเสื่อมไป ฯลฯ ในจักษุอยู่
... พิจารณาเห็นความคลายไป ฯลฯ ในจักษุอยู่
... พิจารณาเห็นความดับไป ฯลฯ ในจักษุอยู่
... พิจารณาเห็นความสละคืน ฯลฯ ในจักษุอยู่ ฯลฯ (2-8)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 23 หน้า :186 }


พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต 10.อาหุเนยยวรรค
ในโสตะอยู่ ฯลฯ ในฆานะอยู่ ... ในชิวหาอยู่ ... ในกายอยู่ ... ในใจอยู่ ฯลฯ
(9-48)
ในรูปอยู่ ฯลฯ ในเสียงอยู่ ... ในกลิ่นอยู่ ... ในรสอยู่ ... ในโผฏฐัพพะอยู่ ...
ในธรรมารมณ์อยู่ ฯลฯ (49-96)
ในจักขุวิญญาณอยู่ ฯลฯ ในโสตวิญญาณอยู่ ... ในฆานวิญญาณอยู่ ...
ในชิวหาวิญญาณอยู่ ... ในกายวิญญาณอยู่ ... ในมโนวิญญาณอยู่ ฯลฯ (97-144)
ในจักขุสัมผัสอยู่ ฯลฯ ในโสตสัมผัสอยู่ ... ในฆานสัมผัสอยู่ ... ในชิวหาสัมผัสอยู่
... ในกายสัมผัสอยู่ ... ในมโนสัมผัสอยู่ ฯลฯ (145-192)
ในเวทนาที่เกิดจากจักขุสัมผัสอยู่ ฯลฯ ในเวทนาที่เกิดจากโสตสัมผัสอยู่ ...
ในเวทนาที่เกิดจากฆานสัมผัสอยู่ ... ในเวทนาที่เกิดจากชิวหาสัมผัสอยู่ ... ในเวทนา
ที่เกิดจากกายสัมผัสอยู่ ... ในเวทนาที่เกิดจากมโนสัมผัสอยู่ ฯลฯ (193-240)
ในรูปสัญญาอยู่ ฯลฯ ในสัททสัญญาอยู่ ... ในคันธสัญญาอยู่ ... ในรสสัญญาอยู่
... ในโผฏฐัพพสัญญาอยู่ ... ในธัมมสัญญาอยู่ ฯลฯ (241-288)
ในรูปสัญเจตนาอยู่ ฯลฯ ในสัททสัญเจตนาอยู่ ... ในคันธสัญเจตนาอยู่ ... ใน
รสสัญเจตนาอยู่ ... ในโผฏฐัพพสัญเจตนาอยู่ ... ในธัมมสัญเจตนาอยู่ ฯลฯ (289-
336)
ในรูปตัณหาอยู่ ฯลฯ ในสัททตัณหาอยู่ ... ในคันธตัณหาอยู่ ... ในรสตัณหาอยู่
... ในโผฏฐัพพตัณหาอยู่ ... ในธัมมตัณหาอยู่ ฯลฯ (337-384)
ในรูปวิตกอยู่ ฯลฯ ในสัททวิตกอยู่ ... ในคันธวิตกอยู่ ... ในรสวิตกอยู่ ... ใน
โผฏฐัพพวิตกอยู่ ... ในธัมมวิตกอยู่ ฯลฯ (385-432)
ในรูปวิจารอยู่ ฯลฯ ในสัททวิจารอยู่ ... ในคันธวิจารอยู่ ... ในรสวิจารอยู่ ...
ในโผฏฐัพพวิจารอยู่ ... ในธัมมวิจารอยู่ ฯลฯ (433-480)
... พิจารณาเห็นความไม่เที่ยง ... ในรูปขันธ์อยู่
... พิจารณาเห็นความเป็นทุกข์ ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 23 หน้า :187 }