เมนู

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฎิกวรรค [10. สังคีติสูตร] สังคีติหมวด 2

9

1. สมาปัตติกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในการเข้าสมาบัติ)
2. สมาปัตติวุฏฐานกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากสมาบัติ)

10

1. ธาตุกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในธาตุ)
2. มนสิการกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในมนสิการ)1

11

1. อายตนกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในอายตนะ)
2. ปฏิจจสมุปปาทกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท)

12

1. ฐานกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะ)
2. อัฏฐานกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในอัฏฐานะ)

13

1. อาชชวะ (ความซื่อตรง)
2. ลัชชวะ (ความละอาย)2

14

1. ขันติ (ความอดทน)
2. โสรัจจะ (ความเสงี่ยม)3

เชิงอรรถ :
1 ดูเทียบ องฺ.ทุก. (แปล) 20/97/109
2 ดูเทียบ องฺ.ทุก. (แปล) 20/165/126
3 ดูเทียบ องฺ.ทุก. (แปล) 20/166/126

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 11 หน้า :254 }


พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฎิกวรรค [10. สังคีติสูตร] สังคีติหมวด 2

15

1. สาขัลยะ (ความมีวาจาอ่อนหวาน)
2. ปฏิสันถาร (การต้อนรับ)1

16

1. อวิหิงสา (ความไม่เบียดเบียน)
2. โสเจยยะ (ความสะอาด)2

17

1. มุฏฐสัจจะ (ความหลงลืมสติ)
2. อสัมปชัญญะ (ความไม่รู้ตัว)3

18

1. สติ (ความระลึกได้)
2. สัมปชัญญะ (ความรู้ตัว)4

19

1. อินทริเยสุ อคุตตทวารตา (ความไม่คุ้มครองทวารในอินทรีย์)
2. โภชเน อมัตตัญญุตา (ความไม่รู้จักประมาณในการบริโภค)5

เชิงอรรถ :
1 ดูเทียบ องฺ.ทุก. (แปล) 20/167/126
2 ดูเทียบ องฺ.ทุก. (แปล) 20/168/126
3 ดูเทียบ องฺ.ทุก. (แปล) 20/179/129
4 ดูเทียบ องฺ.ทุก. (แปล) 20/180/129
5 ดูเทียบ องฺ.ทุก. (แปล) 20/169/127

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 11 หน้า :255 }