เมนู

3. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม
และธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

4. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

2. อารัมมณปัจจัย


[214] 1. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

2. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย


การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[215] ในเหตุปัจจัย มี 4 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 5 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 4 วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย
มี 5 วาระ.

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[216] 1. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย-
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[217] 2. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[218] ในนเหตุปัจจัย มี 7 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 7 วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี 7 วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี 7 วาระ ฯลฯ ในโนวิคต-
ปัจจัย มี 4 วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ


[219] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ... ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม


[220] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ... ฯลฯ
ปัญหาวาระในกุสลติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.
อนุโลมปัจจนียทุกปัฏฐาน จบ