เมนู

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
3. อัพยากตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อัพยากต-
ธรรมที่เป็นเหตุ และอัพยากตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
4. อัพยากตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่อัพยากต-
ธรรมที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[69] ในนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี 9 วาระ ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนัย


การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ


[70] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ. . . ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย


การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม


[71] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ... ฯลฯ
อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียา-
นุโลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.
เหตุทุกกุสลติกะ จบ