เมนู

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[690] ในเหตุปัจจัย มี 4 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 9 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี 9 วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 9 วาระ ใน
อัญญมัญญปัจจัย มี 9 วาระ ในนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย
มี 9 วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ ใน
อาเสวนปัจจัย มี 9 วาระ ในกัมมปัจจัย มี 6 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 9
วาระ ในอาหารปัจจัย มี 4 วาระ ในอินทริยปัจจัย มี 4 วาระ ในฌาน-
ปัจจัย มี 9 วาระ ในมัคคปัจจัย มี 4 วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี 6 วาระ
ในวิปปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ในอัตถิปัจจัย มี 9 วาระ ในนัตถิปัจจัย มี 9
วาระ ในวิคตปัจจัย มี 9 วาระ ในอวิคตปัจจัย มี 9 วาระ.

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[691] 1. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย
.
2. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
3. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ
อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
4. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
5. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย
.
6. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ
อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

7. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
8. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่
อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
9. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัปปีติกธรรมและอัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
.
แม้การนับในปัจจนียวิภังค์ ก็เหมือนกับสวิตักกทุกะ ถ้าหากมีไม่
เสมอกัน พึงพิจารณาอนุโลมนี้ ตามสมควรแล้วพึงนับ การนับทั้งสองนัย
นอกนี้ก็พึงนับเช่นนี้.
สัปปีติกทุกะ จบ

90. ปีติสหคตทุกะ


ปฏิจจวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[692] 1. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ 2.
ปีติสหคตทุกะ พึงให้พิสดารโดยนัยดังกล่าวมา เหมือนกับสัปปีติก-
ทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน จำแนกวาระ ไม่มีแตกต่างกัน.
ปีติสหคตทุกะ จบ