เมนู

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬี-
การาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิ-
ตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

22. นัตถิปัจจัย ฯลฯ 24. อวิคตปัจจัย


ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[585] ในเหตุปัจจัย มี 4 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 5 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 4 วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี 4 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 5 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 2 วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี 7 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 4 วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี 2 วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 2 วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี 2 วาระ

ในกัมมปัจจัย มี 4 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 1 วาระ ในอาหารปัจจัย มี 4
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี 4 วาระ ในฌานปัจจัย มี 4 วาระ ในมัคคปัจจัย
มี 4 วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี 2 วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี 7 วาระ ในอัตถิปัจจัย มี 4 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 4 วาระ
ในอวิคตปัจจัย มี 7 วาระ.

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[586] 1. ทัสสเนนปหาตัพพธรรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
2. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่
ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
3. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
.
4. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-