เมนู

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[250] 1. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
2. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
3. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
.
4. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
5. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
6. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น-
ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-
สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
7. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
8. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-
สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

9. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม
และธรรมที่ไม่ใช่จิตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัม-
มณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[251] ในนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในปัจจัยทั้งปวง มี 9 วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี 9 วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย


การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ


[252] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ . . . ใน
นอธิปติปัจจัย มี 9 วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี 3 วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี 3 วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี 1 วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี 3 วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี 3 วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี 1 วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี 3 วาระ ในโนวิคต-
ปัจจัย มี 3 วาระ.