เมนู

ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 2 และจักขุวิญญาณ ฯลฯ เหมือนกับปัจจยวาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[218] ในเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 9 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี 9 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 9 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 9 วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี 3 วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี 9 วาระ
ในกัมมปัจจัย มี 3 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 9 วาระ ในอาหารปัจจัย มี 9 วาระ
ในอินทริยปัจจัย มี 9 วาระ ในฌานปัจจัย มี 3 วาระ ในมัคคปัจจัย มี 3 วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี 9 วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี 9 วาระ ในนัตถิปัจจัย มี 9 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 9 วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี 9 วาระ.

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[219] 1. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
.

2. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย
.
3. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม
และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
4. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
5. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ-
ของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

6. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัม-
มณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
7. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม
เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
.
8. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม
เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย
.
9. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม
เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[220] ในนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในปัจจัยทั้งปวง มี 9 วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี 9 วาระ.