เมนู

4. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
5. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
6. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม
มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ,
สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.
7. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม
มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ,
ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[149] ในนเหตุปัจจัย มี 7 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 7 วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี 7 วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี 7 วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี 7 วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี 6 วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี 6 วาระ
ในนนิสสยปัจจัย มี 6 วาระ. ในนอุปนิสสยปัจจัย มี 7 วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย
มี 7 วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี 7 วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี 6 วาระ