เมนู

ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 2 และกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ 2 ฯลฯ
ขันธ์ 1 ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 และจิต
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ 2 ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง 2 วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[111] ในเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 9 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี 9 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 9 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 9 วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี 3 วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี 9 วาระ
ในกัมมปัจจัย 3 วาระ ในวิปากปัจจัยมี 9 วาระ ในอาหารปัจจัย มี 9 วาระ
ในอินทริยปัจจัย มี 9 วาระ ในฌานปัจจัย มี 3 วาระ ในมัคคปัจจัยมี 3 วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี 9 วาระ ในนัตถิปัจจัยมี 9 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 9 วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี 9 วาระ.

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[112] 1. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
2. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่
เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมม-
ปัจจัย
.
3. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
4. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่
เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอินทริยปัจจัย
.
5. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

6. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
7. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก
เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
.
8. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก
เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย และด้วย
อำนาจของ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
9. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก
เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย และ สหชาตะ รวมกับ
ปุเรชาตะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[103] ในนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในปัจจัยทั้งปวง มี 9 วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี 9 วาระ.