เมนู

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[441] ในนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในปัจจัยทั้งปวง มี 9 วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี 9 วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย


การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ


[442] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ.... ใน
นสมนันตรปัจจัย มี 4 วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี 2 วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี 4 วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี 4 วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี 2
วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี 4 วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี 4 วาระ ในโนวิคต-
ปัจจัย มี 4 วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย


การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม


[443] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ... ใน
อธิปติปัจจัย มี 9 วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี 9 วาระ.
สัญโญชนทุกะ จบ

21. สัญโญชนิยทุกะ


ปฏิจจวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[444] 1. สัญโญชนิยธรรม อาศัยสัญโญชนิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นสัญโญชนิย-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป 1 ฯลฯ
เหมือนกับโลกิยทุกะ ในจูฬันตรทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.
สัญโญชนิยทุกะ จบ