เมนู

2. อาสววิปปยุตตธรรม เจือกับอาสววิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ


การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ


[383] ในนเหตุปัจจัย มี 2 วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี 6 วาระ ใน
นปุเรชาตปัจจัย มี 6 วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี 6 วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี 6 วาระ ในนกัมมปัจจัย มี 4 วาระ ในนวิปากปัจจัย มี 6 วาระ
ในนฌานปัจจัย มี 1 วาระ ในนมัคคปัจจัย มี 1 วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี 6 วาระ.
การนับวาระในนัยทั้งสอง แม้นอกนี้ พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้ว.
แม้ สัมปยุตตวาระ ก็เหมือนกับ สังสัฏฐวาระ.

ปัญหาวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[384] 1. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
2. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสววิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
โทสะ เป็นปัจจัยแก่โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย.
3. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
โทสะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.