เมนู

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
7. โลกิยธรรม และ โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่
โลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.


การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[320] ในนเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ฯลฯ ในนสมนันตรปัจจัย มี 7
วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี 5 วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี 5 วาระ ในน-
นิสสยปัจจัย มี 5 วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี 7 วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี
6 วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี 7 วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี 7 วาระ
ในนสัมปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี 4 วาระ ในโนอัตถิ
ปัจจัยมี 4 วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี 7 วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี 7 วาระ
ในโนอวิคตปัจจัย มี 4 วาระ.
ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย


การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ


[321] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ ฯลฯ ใน
นสมนันตรปัจจัย มี 4 วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี 2 วาระ ในนอุปนิสสย-

ปัจจัย มี 4 วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี 4 วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี 2
วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี 2 วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี 4 วาระ ในโนวิคต
ปัจจัย มี 4 วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปัจจนียานุโลม


การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม


[322] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ... ใน
อธิปติปัจจัย มี 4 วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี 7 วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
โลกิยทุกะ จบ

อรรถกถาโลกิยทุกะเป็นต้น


อีกอย่างหนึ่ง ทุกะเหล่านี้คือ โลกิยทุกะ สาสวทุกะ สัญโญชนียทุกะ
คันถนียทุกะ นีวรณียทุกะ ปรามัฏฐทุกะ สังกิเลสิกทุกะ อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ
สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนียทุกะ คันถวิปปยุตตคันถนียทุกะ นีวรณวิปป-
ยุตตนีวรณียทุกะ ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ
ปริยาปันนทุกะ และสอุตตรทุกะ เหมือนกัน กิเลสทุกะเหมือนสัญโญชนทุกะ
สังกิลิฏฐทุกะ กิเลสสัมปยุตตทุกะ นีวรณสัมปยุตตทุกะ ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ