เมนู

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ทั้ง 2 ปัจจัยนี้
เหมือนปัจจยวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับนิสสยปัจจัย
ในปัจจัยวาระ.

9.อุปนิสสยปัจจัย


[22] 1. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
2. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

3. เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตต
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
4. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา
แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
5. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลาย
สงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา
แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
6. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม และนเหตุธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ เหมือนกับอุปนิสสยปัจจัย ตอนที่ 2.
7. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
8. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
9. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
และนเหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

10. ปุเรชาตปัจจัย


[23] 1. นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.