เมนู

นิสสยปัจจัย มี 3 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 2 วาระ นปุเรชาตปัจจัย
มี 3 วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี 1 วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี 3 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 3 วาระ ในอาหารปัจจัย มี 3 วาระ
ในอินทริยปัจจัย มี 3 วาระ ในฌานปัจจัย มี 3 วาระ ในมัคคปัจจัย มี 1 วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี 1 วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี 5 วาระ ในนัตถิปัจจัย มี 1 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 1 วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี 5 วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[216] 1. สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.

2. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-
ปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
3. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

4. อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม
และอนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย.

5. สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย
แก่อนิทัสสนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.


การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[217] ในนเหตุปัจจัย มี 5 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี 5 วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี 5 วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี 5 วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี 5 วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี
5 วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี 4 วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี 5 วาระ ใน-
นปุเรชาตปัจจัย มี 4 วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี 5 วาระ ในปัจจัยทั้งปวง