เมนู

[1861] 2. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของเสวนปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย พึงกระทำเป็น 9
วาระ, ไม่พึงกระทำอาวัชชนะ.


11. กัมมปัจจัย


[1862] 1. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มีแต่สหชาตกรรม นานาขณิกกรรมไม่มี.

12. อาหารปัจจัย ฯลฯ 20. อวิคตปัจจัย


1. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย, ปัจจัย 7 เหล่านี้ แจกเป็น 17 วาระ เหมือนกับเหตุปัจจัย.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของวิคตปัจจัย
เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี 17 วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[1863] ในเหตุปัจจัย มี 17 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 21 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
9 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 17 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 17 วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี 17 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 21 วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี 9 วาระ ในกัมมปัจจัย มี 17 วาระ ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย
ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย แต่ละปัจจัยมี 17 วาระ ใน
อัตถิปัจจัย มี 17 วาระ ในนัตถิปัจจัย มี 9 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 9 วาระ
ในอวิคตปัจจัย มี 17 วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[1864] 1. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.

[1865] 2. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย

[1866] 3. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.