เมนู

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


สุทธมูลกนัย


[1522] ในเหตุปัจจัย มี 7 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 7 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 7 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี 9 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 11 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 7 วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี 13 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี 3 วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี 4 วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี 7 วาระ ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย
ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี 7 วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี 3 วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ในอัตถิปัจจัย มี 3 วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี 9 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 9 วาระ ในอวิคตปัจจัย มี 13 วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ


[1523] 1. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[1524] 2. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.

[1525] 3. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย,

[1526] 4. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[1527] 5. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[1528] 6. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[1529] 7. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย.

[1530] 8. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.

[1531] 9. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[1532] 10. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.

[1533] 11. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[1534] 12. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปริตตธรรม ฯลฯ

มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
[1535] 13. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย
แก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.
[1536] 14. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปริตตธรรม ฯลฯ

มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
[1537] 15. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
มหัคคตธรรม ฯลฯ

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[1538] ในนเหตุปัจจัย มี 15 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 15
วาระ ในนอธิปติปัจจัย ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย แต่ละปัจจัย