เมนู

อนุโลมปัจจนียนัย


การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ


[1231] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี 3 วาระ... ในน-
ปุเรชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
มี 3 วาระ ในนกัมมปัจจัย มี 2 วาระ ในนวิปากปัจจัย มี 2 วาระ ในน-
วิปปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย


การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม


[1232] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 1 วาระ ... ใน
อนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ใน
นิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมม-
ปัจจัย ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ใน
มัคคปัจจัย ในสัมมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย ในนัตถิ
ปัจจัย ในวิคตปัจจัย ในอวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัย มี 1 วาระ.
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลมานัย จบ
สังสัฏฐวาระ จบ
สัมปยุตตวาระ เหมือนกับสังสัฏฐวาระ.

ปัญหาวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[1233] 1. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[1234] 2. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสวกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลายด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[1235] 3. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนว-
เสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[1236] 4. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม เกิดขึ้น
มี 3 วาระ (วาระที่ 4-5-6)