เมนู

ปัจจัย มี 17 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 17 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
11 วาระ ในนิสสยปัจจัย มี 17 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 21 วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี 5 วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 5 วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี 17 วาระ ในกัมมปัจจัย มี 7 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 1 วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี 7 วาระ ในอินทริยปัจจัยมี 7 วาระ ในฌานปัจจัย มี 7 วาระ ใน
มัคคปัจจัย มี 7 วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี 11 วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี 9 วาระ ในอัตถิปัจจัย มี 17 วาระ ในนัตถิปัจจัย มี 17 วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี 17 วาระ ในอวิคตปัจจัย มี 17.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะ


[992] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

[993] 1. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[994] 2. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[995] 3. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[996] 4. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

[997] 5. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[998] 6. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนายของอุป-
นิสสยปัจจัย.

[999] 7. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสห-
ชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[100] 8. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[1001] 9. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสปุเรชาตปัจจัย.

[1002] 10. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[1003] 11. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[1004] 12. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[1005] 13. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย เจือปนกันมีอยู่ พึงกระทำ
ตามในบาลี เพื่อที่จะนับ พึงใคร่คราญแล้วจึงนับ.
[1006] 14. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

มี 5 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
แม้ในข้อนี้ เพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย ก็มีอยู่ แต่
ในบาลีไม่มี เมื่อจะนับ พึงใคร่ครวญแล้วจึงนับ.

[1007 ] 15. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัยเจือปนด้วยปัจจัย
ใดมีอยู่ ปัจจัยนั้นก็พึงกระทำตามในบาลี.
[1008] 16. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.

[1009] 17. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

แม้ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อนี้ปัจจัยเจือปนด้วย
ปัจจัยใดมีอยู่.
[1010] 18. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ
อินทริยะ
แม้ในข้อนี้ อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ก็มี.
[1011] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

[1012] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

แม้ในข้อนี้ก็มี สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย วาระนั้นใดที่ไม่ได้
เขียนไว้ วาระเหล่านั้นเมื่อนั้นในบาลี ย่อมไม่เสมอกันโดยพยัญชนะ วาระที่
ไม่ได้เขียนไว้ให้บาลีเหล่านั้น จำนวนปรากฏแล้ว ถ้าเกิดสงสัย พึงพิจารณา
ดูในอัตถปัจจัย ในอนุโลม.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[1013] ในนเหตุปัจจัย มี 21 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 21
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี 21 วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี 21 วาระ ใน-
นสมนันตรปัจจัย มี 21 วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี 21 วาระ ในนอัญญ-