เมนู

21.อัตถิปัจจัย


[979] 1. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
[980] 2. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[981] 3. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์
3 และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3. โมหะ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
4. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี 3 วาระ.
[982] 7. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย

มี 5 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ

ที่เป็น สชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ของอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯสฯ โดยความเป็นของไม่
เที่ยง ฯลฯ
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ฯลฯ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เกิด
ภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย.
[983] 8. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[984] 9. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือทีเป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกะ
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[985] 10. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ
ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
[986] 11. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
เพราะปรารภซึ่งจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ย่อมเกิดขึ้น, เพราะปรารภหทยวัตถุ ฯลฯ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ
โมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[987] 12. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และสหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม หทยวัตถุ และโมหะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ.
[988] 3. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยเเก่เนวทัสสเนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

มี 5 อย่าง คือ สหชาตะ,สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ
ปัจฉาชาตะ
รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน และหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็น
ปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และกวฬีการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง และ
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[989] 14. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน และหทัยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ 2 และโมหะ ฯลฯ
[990] 15. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย ฯลฯ พึงแจกเป็น
3 วาระ โดยนัยแห่งทัสสเนนะ พึงกำหนดเอาอุทธัจจะ.

22. นัตถิปัจจัย ฯลฯ 24. อวิคตปัจจัย


เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ นัตถิปัจจัย ด้วยอำนาจของ วิคตปัจจัย
ด้วยอำนาจของ อวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


สุทธมูลกนัย


[991] ในเหตุปัจจัย มี 11 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 21 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 10 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 17 วาระ ในสมนันตร-