เมนู

ปัจจนียานุโลม


การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม


สุทธมูลกนัย


[856] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 5 วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย มี 5 วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี 5 วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี 5 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 5 วาระ ในนิสสยปัจจัย มี 5 วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี 5 วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี 5 วาระ ในอาเสวน-
ปัจจัย มี 5 วาระ ในกัมมปัจจัย มี 5 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 1 วาระ
ในอาหารปัจจัย มี 5 วาระ ในอินทริยปัจจัย มี 5 วาระ ในฌานปัจจัย มี
5 วาระ ในมัคคปัจจัย มี 5 วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ใน
วิปปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ในอัตถิปัจจัย มี 5 วาระ ในนัตถิปัจจัย มี 5
วาระ ในวิคตปัจจัย มี 5 วาระ ในอวิคตปัจจัย มี 5 วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาระ จบ
นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.

สังสัฏฐวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[857] 1. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 เจือกับขันธ์ 1 ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ 2 เจือกับขันธ์ 2.
[858] 2. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เ จือกับภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ 3 เจือกับขันธ์ 1 ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ 2 เจือกับขันธ์ 2
[859] 3. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ
กับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ 3 เจือกับขันธ์ 1 ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ