เมนู

อนุโลมปัจจนียนัย


การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ


[1658] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 7 วาระ...ในน
อธิปติปัจจัย มี 7 วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี 7 วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี 7 วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี 4 วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี 7 วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี 7 วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี 7 วาระ ในนอาเสวน
ปัจจัย มี 7 วาระ ในนกัมมปัจจัย มี 7 วาระ ในนวิปากปัจจัย มี 4 วาระ ใน
นอาหารปัจจัย มี 7 วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี 7 วาระ ในนฌานปัจจัย มี 7
วาระ ในนมัคคปัจจัย มี 7 วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี 4 วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี 3 วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี 7 วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี 7 วาระ.
ปัจจัย 5 คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณ-
ปัจจัย มี 7 วาระ...ในนอธิปติปัจจัย มี 7 วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี 7 วาระ.
การนับวาระในอนุโลมปัจจนียะ จำแนกไว้แล้วในกุสลติกะฉันใด พึง
นับฉันนั้น.
อนุโลมปัจจนียะ จบ

ปัจจนียานุโลม


การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม


[1659] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 6 วาระ. . . ใน
อธิปติปัจจัย มี 5 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 7 วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
7 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 9 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 3 วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี 11 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี 7
วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 9 วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี 2วาระ ในกัมมปัจจัย
มี 8 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 6 วาระ ในอาหารปัจจัย มี 12 วาระ ในอินทริย-
ปัจจัย มี 7 วาระ ในฌานปัจจัย มี 7 วาระ ในมัคคปัจจัย มี 7 วาระ ใน
สัมปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี 10 วาระ ในอัตถิปัจจัย มี
23 วาระ ในนัตถิปัจจัย มี 7 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 7 วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี 23 วาระ.
ฯลฯ
การนับวาระในปัจจนียานุโลม จำแนกไว้แล้วในกุสลติกะ ฉันใด
พึงนับฉันนั้น
อุปาทินนติกะ ที่ 4 จบ

อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งอุปาทินนติกปัฏฐาน


ในปัญหาวาระแห่ง อุปาทินนุปาทานิยติกะ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสหมายถึงปวัตติกาลว่า วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทา-
นิยะ โดยปุเรชาตปัจจัยเท่านั้น แต่ในปฏิสนธิกาล วัตถุนั้นหาเป็นปุเรชาต-
ปัจจัยไม่. ในคำนี้ว่า กพฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นปัจจัยแก่
กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ โดยอาหารปัจจัย ดังนี้ความว่า ชื่อว่ากพฬี-
การาหารี เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ ได้แก่ โอชาที่อยู่ในภายในแห่งรูปที่มีกรรม
เป็นสมุฏฐาน. สองบทว่า อุปาทินฺนุปาทานิยสฺส กายสฺส ความว่าเป็น
ปัจจัยแก่กาย คือรูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐานนั่นเอง โดยอาหารปัจจัย.